คาถาต่างๆ มีกำเนิดมาอย่างไรใครเป็นผู้แต่ง
คาถาต่างๆ เช่นชัยมงคลคาถา คาถาชินบัญชร มีกำเนิดมาอย่างไร ใครเป็นผู้แต่งคาถาเหล่านี้
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 2 ชนะพกพรหม)
เพราะว่า สังสารวัฏกำหนดที่สุดของเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายไม่ได้ ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวที่เธอจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด เพื่อให้พ้นทุกข์
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 1 ชนะพกพรหม)
พระชินสีห์ผู้เป็นจอมมุนีได้ชนะพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ สำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีอสรพิษคือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดรึงไว้ ด้วยเทศนาญาณวิธี ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
ชัยชนะครั้งที่ ๔ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะองคุลิมาล)
เวลาแห่งการปฏิบัติธรรม เป็นเวลาที่มีคุณค่ามหาศาล เพราะเราจะได้ทำใจหยุดใจนิ่ง แสวงหาอริยมรรค ซึ่งเป็นเส้นทางของพระอริยเจ้าทั้งหลาย เป็นทาง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นบุคคลผู้เลิศทั้งพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ จะหาบุคคลใดๆ ในภพทั้งสาม มาเสมอเหมือนหรือ
ชัยชนะครั้งที่ ๓ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
การจะหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ จะต้องลงมือปฏิบัติธรรมเท่านั้น จะสวดมนต์อ้อนวอนอย่างไร ย่อมไม่อาจบรรลุธรรมได้ แม้จะมีความ
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
ชัยชนะครั้งที่ ๕ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะการถูกกล่าวหาจากนางจิญจมาณวิกา)
พุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพ เป็นอานุภาพที่ไม่มีประมาณ เพราะเป็นอจินไตยอยู่เหนือวิสัยของผู้ที่ใจยังไม่หยุด จะเข้าใจได้ด้วยการนึกคิดด้นเดา
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 4 ชนะสัจจกนิครนถ์)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความปรากฏขึ้นแห่งบุคคลเอก เป็นความปรากฏแห่งจักษุใหญ่ แห่งแสงสว่างใหญ่ แห่งโอภาสใหญ่ แห่งอนุตตริยะ เป็นการกระทำให้แจ้งซึ่งปฏิสัมภิทา ๔ เป็นการแทงตลอดธาตุธรรม